การจัดการเรียนการสอนด้วยห้องเรียนออนไลน์โดยใช้ Google Classroom ในรายวิชาการบริหารคุณภาพและนวัตกรรมในงานภาครัฐ

##plugins.themes.bootstrap3.article.main##

นิภาพรรณ เจนสันติกุล

Abstract

            บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ Google Classroom ในรายวิชาการบริหารคุณภาพและนวัตกรรมในงานภาครัฐ ผลการวิเคราะห์ พบว่า การใช้ Google Classroom ในการเรียนการสอนสามารถส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดความร่วมมือในการเรียนรู้แบบร่วมมือ เป็นห้องเรียนเสมือนจริงซึ่งผู้เรียนสามารถพัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเองและสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ทุกเวลา ผู้เรียนได้รับการพัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากแหล่งความรู้ข้อมูลที่ทันสมัย การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในห้องเรียนสามารถออกแบบได้หลากหลายตามลักษณะการเรียนรู้ ผู้เรียนและผู้สอนเผชิญหน้ากันและทำการโต้ตอบ จึงทำให้ผู้สอนสามารถทราบถึงการเปลี่ยนแปลงของผู้เรียนได้

##plugins.themes.bootstrap3.article.details##

How to Cite
เจนสันติกุล น. (2021). การจัดการเรียนการสอนด้วยห้องเรียนออนไลน์โดยใช้ Google Classroom ในรายวิชาการบริหารคุณภาพและนวัตกรรมในงานภาครัฐ. วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ, 1(3), 53-61. https://ojs.mbuslc.ac.th/index.php/issj/article/view/59
Section
บทความวิชาการ

References

กนิษฐา อินธิชิต วรปภา อารีราษฎร์ และจรัญ แสนราช. (2561). การพัฒนารูปแบบการประยุกต์ใช้ กูเกิลแอปพลิเคชันเพื่อสนับสนุนการแนะแนวการศึกษาสำหรับสถาบันอุดมศึกษา. วารสารวิชาการการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม, 5(2), 83-93.

จุฑามาศ ใจสบาย. (2562). การพัฒนาบทเรียนออนไลน์ โดยใช้ Google Classroom รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต. วารสารธาตุพนมปริทรรศน์, 3(1), 1-8.

จุฑามาศ มละครบุร. (2560). การปรับปรุงประสิทธิภาพในการใช้ห้องเรียน: กรณีศึกษาเปรียบเทียบระหว่างชั้นเรียนขนาดใหญ่ ชั้นเรียนขนาดกลางและชั้นเรียนขนาดเล็กของวิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. วารสารการเมืองการปกครอง, 7(3), 198-210.

ชลีนุช คนซื่อ สรเดช ครุฑจ้อน และกันต์พงษ์ วรรัตน์ปัญญา. (2554). การพัฒนาตัวแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานทางด้านกิจกรรมในรายวิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบ. วารสารบรรณศาสตร์ มศว, 4 (1), 40- 52.

สาวิตรี สิงหาด สุฬดี กิตติวรเวช และอธิพงศ์ สุริยา. (2561). ผลสัมฤทธิ์และความพึงพอใจของนักศึกษาพยาบาลต่อการจัดการเรียนการสอนผ่าน Google Classroom ในรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการพยาบาล. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 9(2), 124-137.

เอกวิทย์ สิทธิวะ และวรชนันท์ ชูทอง. (2558). คู่มือการใช้งานการอบรมการใช้นวัตกรรม Google Classroom ในการเรียนการสอนของอาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์. นครสวรรค์: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

Iftakhar, S. (2016). Google classroom: What works and how?. Journal of Education and Social Sciences, 3, 12-18.

Khalil, Z.M. (2018). EFL Students’ Perceptions towards Using Google Docs and Google Classroom as Online Collaborative Tools in Learning Grammar. Applied Linguistics Research Journal, 2(2), 33-48.

Prastiyo, W., Djohar, As’ari & Purnawan. (2018). Development of Youtube integrated Google classroom based e-learning media for the light-weight vehicle engineering vocational High School. Jurnal Pendidikan Vokasi, 8(1), 53-66.

Saeed Al-Maroof, R.A. & Al-Emran, M. (2018). Students Acceptance of Google Classroom: An Exploratory Study using PLS-SEM Approach. iJET, 13(6),112-123.

Suwannatat, P. (2563). โรคระบาดทำให้เห็นความไม่เท่าเทียม เรียนออนไลน์อาจไม่ตอบโจทย์ เพราะเด็กบางคนขาดอุปกรณ์. (ออนไลน์). สืบค้นเมื่อ 15 พฤษภาคม 2563. แหล่งสืบค้น https://brandinside.asia/%E0%B9%89how-covid-19-transform-education-system/