วิกฤตจริยธรรมและจรรยาบรรณของคนไทยในยุคดิจิทัล

##plugins.themes.bootstrap3.article.main##

พระณัฏฐวัฒน์ ญาณปฺปโภ (ตั้งปฐมวงศ์)

Abstract

            ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีในยุคดิจิทัล ทำให้เกิดกระแส “เครือข่ายสังคมออนไลน์” ที่ได้แพร่เข้ากลุ่มพื้นที่ความเป็นส่วนตัวของหลายคนภายในเวลารวดเร็ว โดยเฉพาะเฟสบุ๊ค ไลน์ ยูทูป ทวิตเตอร์ บล็อก และอินสตาแกรม เป็นต้น การใช้การนำเสนอ และการแชร์ข่าวสาร ข้อมูล ในยุคดิจิทัล เพื่อความรวดเร็ว สดใหม่ ทันต่อสถานการณ์ ทันตามกระแส จนบางครั้งละเลยบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบต่อสังคม สะท้อนให้เห็นถึงปัญหากระทบต่อจริยธรรมจรรยาบรรณต่อพฤติกรรมการใช้สื่อ และชี้ให้เห็นถึงทิศทางอนาคต ที่ต้องเผชิญในยุคสื่อดิจิทัล การรักษาความถูกต้อง ความน่าเชื่อถือ การปฏิบัติงานภายใต้ความรับผิดชอบต่อองค์กร และแนวทางการใช้สื่อสังคม และสื่อออนไลน์ ให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการสื่อข่าว บนความแข็งแกร่งทางด้านจิตใจของมนุษย์ ที่จะมีศีลธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีทางการสื่อสาร เพื่อสร้างสรรค์สังคมในทางที่ถูกต้อง และการรู้เท่าทันสื่อดิจิทัล จะเป็นทักษะที่สำคัญในการเรียนรู้ และใช้ชีวิตของคน...ไทยในยุคดิจิทัล

##plugins.themes.bootstrap3.article.details##

How to Cite
ญาณปฺปโภ พ. (2021). วิกฤตจริยธรรมและจรรยาบรรณของคนไทยในยุคดิจิทัล. วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ, 1(3), 37-52. https://ojs.mbuslc.ac.th/index.php/issj/article/view/58
Section
บทความวิชาการ

References

ณัฐพล ใยไพโรจน์. (2559). Digital Marketing: Concept & Case Study 3rd Edition. นนทบุรี:ไอดีซี พรีเมียร์.

พรพิรุน ทองอินทร์. ไลฟ์สดฆ่าตัวตาย “เมื่อความสดสะท้อนความเสื่อมของสื่อไทย”. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2563 แหล่งสืบค้น http://www.posttoday.com/analysis/report/483452

ปัณณพร ไพบูลย์วัฒนกิจ. (2552). สังคมต้องเท่าทันการสื่อสารดิจิทัล. คณะสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยแม่โจ้.

ศูนย์คุณธรรม (องค์การมหาชน). คุณธรรมจริยธรรมสื่อ. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2563 แหล่งสืบค้น http://www.moralcenter.or.th/index.php/home/news/news-ac/39

สภาการหนังสือพิมพ์แห่งชาติ. (2541). ข้อบังคับว่าด้วยจริยธรรมแห่งวิชาชีพหนังสือพิมพ์ สภาการหนังสือพิมพ์แห่งชาติ, พ.ศ. 2541. กรุงเทพฯ: กรมประชาสัมพันธ์.

สำนักงานสถิติแห่งชาติ, กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2554). การสำรวจการใช้เวลาของประชากร พ.ศ. 2552. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2563 แหล่งสืบค้นhttp://service.nso.go.th/nso/nsopublish

สำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว, กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2554). รายงานสถานการณ์ครอบครัว. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2563 แหล่งสืบค้นhttp://www.womenfamily. go.th

สุวิมล วงศ์สิงห์ทอง และคณะ, (2552). วิกฤตสังคมไทย :แนวทางป้องกันภัยเยาวชนจากการใช้อินเตอร์เน็ตในที่พักอาศัย. วารสารร่มพฤกษ์, ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 (กุมภาพันธ์ – พฤษภาคม 2552)

สุรางคณา วายุภาพ. (2560). ผลสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในปี 2560 โดย ETDA. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2563 แหล่งสืบค้น https://etda-internet-profile-thailand-2017

อารยา สิงห์สวัสดิ์. (2552). เด็กติดเกมภัยร้ายโลกไซเบอร์. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2563 แหล่งสืบค้น http://www.thaihealth.or.th

Jan Leach. Creating Ethical Bridges from Journalism to Digital News. Online. Retrieved on

May 20, 2020. from http://www.nieman.harvard.edu/reportsi tem.aspx?id=101899

Kovach, B., & Rosenstiel, T. (2001). The elements of journalism: What news people should know and the public should expect. New York: Crown Publishers.

Leah Betancourt (2009). “How Social Media is Radically Changing the Newsroom”. Online. Retrieved on May 20, 2020. from http://mashable.com/2009/06/08/social-media-newsroom/

Laura Oliver (2009). “The Roanoke Times: Ethical guidelines for social media”. Online. Retrieved on May 20, 2020. from http://www.journalism.co.uk/news-features/the-roanoke-times-ethical-guidelines-for-social-media/s5/a533328/.

MARGARET SULLIVAN (2012). “After an Outburst on Twitter, The Times Reinforces Its Social Media Guidelines”. Online. Retrieved on May 20, 2020. from http://publiceditor. blogs.nytimes.com/2012/10/17/after-an-outburst-on-twitter-the-times-reinforces-its-social-media-guidelines/?_php=true&_type=blogs&_r=0

Meg Martin (2011). “Online Journalism Ethics: Guidelines from the Conference”. Online. Retrieved on May 20, 2020. From http://www.poynter.org/uncategorized/80445/ online-journalism-ethics-guidelines-from-the-conference/

Porschkub. Digital Media Design. Online. Retrieved on May 20, 2020. From http://www. porschkub.exteen.com/20110818/entry

Phil Corbett (2012). “Why The New York Times eschews formal social media guidelines” Online. Retrieved on May 20, 2020. from http://www.poynter.org/latestnews/ mediawire/180455/why-the-new-york-times-eschews-formal-social-media-guidelines-for-staff/

Reuters (2013). “REPORTING FROM THE INTERNET AND USING SOCIAL MEDIA”. Online. Retrieved on May 20, 2020. from http://handbook.reuters.com/index.php?title=Main_Page

Stephen J.A. Ward, “Digital Media Ethics,” Center for Journalism Ethics, University of Wisconsin. Online. Retrieved on May 20, 2020. from https://ethics.journalism.wisc.edu/ resources/digital-media-ethics/.

Steve Buttry (2009). “Washington Post social media guidelines don’t trust staff members’ judgment. Online. Retrieved on May 20, 2020. from http://stevebuttry.wordpress. com/2009/09/27/washington-post-social-media-guidelines-dont-trust-staff-members-judgment

The Washington Post (2011). Digital Publishing Guidelines. Online. Retrieved on May 20, 2020. from http://www.washingtonpost.com/wp-srv/guidelines/index.html

Wasserma, E. (2010). Threats to Ethical Journalism in the New Media Age (keynote address delivered at a Symposium on The Newsombudsman: Watchdog or Decoy ?. Online. Retrieved on May 20, 2020. from http://www.mediaethicsmagazine.com/ index.php/browse-back-issues/132-spring-2010/3919175-threats-to-ethical-journalism-in-the-new-media-age