พระวินัยกับคฤหัสถ์ : แนวปฏิบัติตามพระวินัยเพื่อความเข้าใจที่ถูกต้อง
##plugins.themes.bootstrap3.article.main##
Abstract
พระพุทธเจ้าทรงมอบให้พุทธบริษัท 4 เป็นผู้สืบทอดพระพุทธศาสนา พระภิกษุมีหน้าที่ในการสืบทอดพระพุทธศาสนาโดยตรง ส่วนอุบาสกอุบาสิกาผู้เป็นคฤหัสถ์มีหน้าที่สืบทอดพระพุทธศาสนาโดยอ้อม พุทธบริษัททั้ง 4 เหล่าต้องศึกษาเล่าเรียนพระธรรมวินัย แล้วนำประพฤติปฏิบัติให้ถูกต้อง พร้อมกับช่วยกันนำไปเผยแผ่และแก้ไขเมื่อมีปัญหาเกิดขึ้น การศึกษาพระวินัยมีความจำเป็นสำหรับคฤหัสถ์ที่ต้องเรียนรู้ทำความเข้าใจและประพฤติปฏิบัติให้ถูกต้องเพื่อป้องกันให้ปฏิบัติผิดจากพระวินัยที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติไว้ ในบทความวิชาการนี้ จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงให้เห็นถึงพระวินัยที่เกี่ยวข้องกับคฤหัสถ์ที่ต้องปฏิบัติต่อพระภิกษุได้อย่างถูก ซึ่งมีเนื้อหาครอบคลุมถึงความสำคัญของพระวินัย หน้าที่ของคฤหัสถ์กับพระศาสนา พระวินัยที่เกี่ยวข้องกับคฤหัสถ์ ความไม่เข้าใจพระวินัยของชาวพุทธในปัจจุบัน และแนวทางป้องกันและการแก้ไขการปฏิบัติผิดพระวินัยที่เกี่ยวกับคฤหัสถ์ ซึ่งจะเป็นประโยชน์สำหรับการสร้างความศรัทธาเลื่อมใสใหเกิดขึ้นและการรักษาสืบทอดหลักคำสอนให้ยั่งยืนต่อไป
##plugins.themes.bootstrap3.article.details##
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการพิจารณาจากคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิและเผยแผ่ในวารสารฉบับนี้ เป็นทัศนคติและข้อคิดเห็นส่วนบุคคลของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่ถือว่าเป็นทัศนะคติและความรับผิดชอบ
ของบรรณาธิการ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ ก่อนเท่านั้น
References
กรมการศาสนา. (2525 ก). พระไตรปิฎกฉบับหลวง ภาษาไทย เล่มที่ 2. พระวินัยปิฏก เล่มที่ 2 มหาวิภังค์ ภาค 2. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงศึกษาธิการ
กรมการศาสนา. (2525 ข). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับหลวง เล่มที่ 5 พระวินัยปิฎก เล่มที่ 5 มหาวรรค ภาค 1. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงศึกษาธิการ
กรมการศาสนา. (2525 ค). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับหลวง เล่มที่ 5 พระวินัยปิฎก เล่มที่ 5 มหาวรรค ภาค 2. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงศึกษาธิการ
กรมการศาสนา. (2525 ง). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับหลวง เล่มที่ 7 พระวินัยปิฎก เล่มที่ 7 จุลวรรค ภาค 2. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงศึกษาธิการ
กรมการศาสนา. (2525 จ). พระไตรปิฎกฉบับหลวง ภาษาไทย เล่มที่ 8. พระวินัยปิฏก เล่มที่ 8 ปริวาร. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงศึกษาธิการ
กรมการศาสนา. (2525 ฉ). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับหลวง เล่มที่ 10. พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ 2 ทีฆนิกาย มหาวรรค. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงศึกษาธิการ
พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช). (2550). พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุดคำวัด. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เลี่ยง เชียง
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2554). พระไตรปิฎกสิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้. ฉบับสองภาษา. พิมพ์ครั้งที่ 15 กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จันทร์เพ็ญ
พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช). (2561). พระวินัยบัญญัติ. กรุงเทพฯ: บริษัทรุ่งศิลป์การพิมพ์ (1977) จำกัด
มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2553 ก). พระไตรปิฎกพร้อมอรรกถกาแปล ชุด 91 เล่ม. พระวินัยปิฎก เล่มที่ 1 มหาวิภังค์ ภาค 1. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: มหามกุฏราชวิทยาลัย.
มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2553 ข). พระไตรปิฎกพร้อมอรรกถกาแปล ชุด 91 เล่ม. พระวินัยปิฎก เล่มที่ 5 มหาวรรค ภาคที่ 2. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: มหามกุฏราชวิทยาลัย.
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส. (2511). นวโกวาท (หลักสูตรนักธรรมชั้นตรี). พิมพ์ครั้งที่ 62. กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส. (2541). พระวินัยมุข (เล่ม 1) หลักสูตรนักธรรมชั้นตรี. พิมพ์ครั้งที่ 39. กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย
เสฐียรพงษ์ วรรณปก. (2553). คำบรรยายพระไตรปิฎก. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: ธรรมสภา
แสวง อุดมศรี. (2546). พระวินัยปิฎก 1 ว่าด้วยมหาวิภังค์หรือภิกขุวิภังค์. กรุงเทพฯ: บริษัทประยูรวงศ์ พริ้นท์ติ้ง จำกัด