การสอนสังคมกับแนวคิดไตรยางค์การศึกษา (OLE)

##plugins.themes.bootstrap3.article.main##

จงรักษ์ ภูพิษ
พระมหาอภิพงศ์ ภูริวฑฺฒโน (คำหงษา)

Abstract

            ปัจจุบันแนวโน้มการศึกษาทุกมุมโลกต่าง ๆ ต้องกลับมาทบทวนว่าการศึกษาที่แท้จริงควรเป็นอย่างไร เพราะหัวใจของการศึกษาคือการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศชาติเพื่อที่จะกลับมาเป็นกําลังสําคัญในการช่วยเหลือพัฒนาประเทศชาติต่อไป หากจะมองในภาพกว้าง ๆ การศึกษานั้นควรพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อพัฒนานวัตกรรมอันจะเป็นประโยชน์ต่อมวลมนุษยชาตินั่นเอง เพราะเหตุนั้นการศึกษาจึงเป็นสิ่งสําคัญต่อมนุษยชาติ มุมมองการศึกษาในยุคปัจจุบันนั้นมีการมุ่งเน้นให้มวลมนุษยชาติอันเป็นทรัพยากรของแต่ละประเทศนั้นได้มีหลักการและแนวคิดที่มีทักษะในการศึกษาเรียนรู้ตลอดชีวิต

##plugins.themes.bootstrap3.article.details##

How to Cite
ภูพิษ จ., & ภูริวฑฺฒโน อ. (2024). การสอนสังคมกับแนวคิดไตรยางค์การศึกษา (OLE). วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ, 4(10), 79-92. https://ojs.mbuslc.ac.th/index.php/issj/article/view/252
Section
บทความวิชาการ

References

คณาจารย์ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา. (2562). ค่านิยมและคุณลักษณะความเป็นครู. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคําแหง.

ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2542). การปลูกฝังความสํานึกทางสังคมในหมู่นิสิตนักศึกษาไทย. อุดมศึกษา วิพากษ์ รวมบทวิเคราะห์ วิจารณ์การอุดมศึกษาไทย. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ์แห่งมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

พระไตรปิฎก ฉบับภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

พระไตรปิฎก ฉบับภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

โรงเรียนวัดไผ่ดํา แผนกสามัญศึกษา. (2565). การจัดการเรียนรู้แบบ PHAIDAM MODEL. สิงห์บุรี: โรงเรียนวัดไผ่ดํา แผนกสามัญศึกษา.

สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร: พริกหวานกราฟฟิค

สุรางค์ โค้วตระกูล. (2559). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.