MOTIVATION IN BUDDHIST MEDITATION OF LAY MEN AND LAY WOMEN IN WAT SRISUTTANWAT, LOEI PROVINCE
Main Article Content
Abstract
This research aimed to (1) study the motivation in Buddhist meditation of lay men and lay women in Wat Srisuttawat, Loei province. (2) compared the motivation in Buddhist meditation of ay Men and Lay Women in Wat Srisuttawat, Loei province, classified by gender. Age, and occupation. The sample was 108 lay men and lay women in Wat Srisuttawat, Loei province. The tool used in this process was a questionnaire with its reliability, analyzed by Cronbach’s Alpha coefficient, value of .87. The statistics used to analyzed the data were: frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, and F-test.
The research result found that (1) the motivation in Buddhist meditation of lay men and lay women in Wat Srisuttawat, Loei province, in overall and each aspects were at the high level. (2) comparison of the motivation in Buddhist meditation of lay men and lay women in Wat Srisuttawat, Loei province, classified by gender, age, and occupation, were found that differences statistically significant at the 0.05 level.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการพิจารณาจากคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิและเผยแผ่ในวารสารฉบับนี้ เป็นทัศนคติและข้อคิดเห็นส่วนบุคคลของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่ถือว่าเป็นทัศนะคติและความรับผิดชอบ
ของบรรณาธิการ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ ก่อนเท่านั้น
References
จักรกฤษณ์ โพดาพล และสุพรรณี บุญหนัก. (2563). สถิติเพื่อการวิจัย และการใช้โปรแกรม SPSS ในการวิจัย. เลย: สำรวยก๊อปปี้ บ้านใหม่.
ธวัลรัตน์ อ่อนราษฎร์. (2557). แรงจูงใจ ในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ของนิสิตปริญญาโทมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์นครสวรรค์. วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระครูปลัดสุรวุฒิ แสงมะโน และคณะ. (2562). แรงจูงใจในการปฏิบัติธรรมของนักศึกษามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน จังหวัดขอนแก่น. วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 19(1). มกราคม - มีนาคม 2562, หน้า 257 – 266.
พระปณิธิ ตันติธนาธร. (2561). แรงจูงใจของพุทธศาสนิกชนในการปฏิบัติวิปัสสนาภาวนา วัดประดับ จังหวัดสิงห์บุรี. วารสาร มจร. มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์, 4(1). มกราคม - มิถุนายน 2561, หน้า 47 – 54.
พระพรสิทธิ์ เตชปญฺโญ (พรมพิมาย). (2558). ศึกษาวามเข้าใจเรื่องการเดินจงกรมในการปฏิบัติวิปัสสนาภาวนาของอุบาสกอุบาสิกา วัดหทัยนเรศวร์ อำเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ประสงค์ พรมศรี. (2563). การปฏิบัติธรรมของนักศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มมร. วิทยาเขตอีสาน, 1(2) พฤษภาคม – สิงหาคม 2563, หน้า 43 – 54.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,
วนิดา วาดีเจริญ, รังสรรค์ เลิศในสัตย์, และสมบัติ ทีฆทรัพย์. (2560). ระเบียบวิธีวิจัยจากแนวคิดทฤษฎีสู่ภาคปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน).
Krejecie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and Psychological Measurement, 30, 607-610.