การเสริมสร้างพื้นที่่แห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง
##plugins.themes.bootstrap3.article.main##
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพพื้นที่่แห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง และ (2) เปรียบเทียบสภาพพื้นที่่แห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง จำแนกตาม เพศ ระดับการศึกษา และคณะ กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ ได้แก่ นักศึกษามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง จำนวนทั้งหมด 242 รูป/คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ ด้วยการหาค่าสัมประสิทธิ์ของอัลฟ่าตามวิธีครอนบาค (Cronbach’s Alpha coefficient) เท่ากับ .88 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมุติฐานด้วย การทดสอบค่าที และ การวิเคราะห์ความแปรปรวน
ผลการวิจัย พบว่า (1) สภาพพื้นที่่แห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับปานกลาง (2) เปรียบเทียบสภาพพื้นที่่แห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง จำแนกตาม เพศ ระดับการศึกษา และคณะ พบว่า ไม่แตกต่างกัน
##plugins.themes.bootstrap3.article.details##
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการพิจารณาจากคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิและเผยแผ่ในวารสารฉบับนี้ เป็นทัศนคติและข้อคิดเห็นส่วนบุคคลของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่ถือว่าเป็นทัศนะคติและความรับผิดชอบ
ของบรรณาธิการ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ ก่อนเท่านั้น
References
จักรกฤษณ์ โพดาพล และสุพรรณี บุญหนัก. (2563). สถิติเพื่อการวิจัย และการใช้โปรแกรม SPSS ในการวิจัย. เลย: สำรวยก๊อปปี้ บ้านใหม่.
มานะ ครุธาโรจน์์. (2563). กลยุทธ์การพัฒนาสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานยุคการศึกษา 4.0. วารสารสังคมศาสตร์์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 5(9). หน้า 351-369.
วนิดา วาดีเจริญ, รังสรรค์ เลิศในสัตย์, และสมบัติ ทีฆทรัพย์. (2560). ระเบียบวิธีวิจัยจากแนวคิดทฤษฎีสู่ภาคปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน).
Brown, M. (2005). Learning spaces. In EDUCAUSE (Educating the net generation). Retrieved April 20, 2016, from https://net.educause.edu/ir/library/pdf/pub7101.pdf
Brown, M. & Long, P. (2006). Trends in learning space design. In D.G. Oblinger. EDUCAUSE. EDUCAUSE. (Learning spaces). pp.9.1-9.11Retrieved April 20, 2016, from https://net.educause. edu/ir/library/pdf/pub7101.pdf
Cornell, P. (2002). The impact of changes in teaching and learning on furniture and the learning environment. New directions for teaching and learning. 92, 33-41. San Francisco: Jossey-Bass.
Gee, L. (2006). Human-centered design guidelines. In D.G. Oblinger. EDUCAUSE (Learning spaces). pp. 10.1-10.13. Retrieved April 20, 2016, from https://net.educause. edu/ir/library/pdf/pub7101.pdf
Kneppell, M. & Riddle, M. (2012). Distributed learning spaces: Physical, blended and virtual learning spaces in higher education. In M.Keppell, K, Souter, & M. Riddle. Physical and virtual learning spaces in higher education: Concepts for the modern learning environment. (pp.1-21). PA: Information Science Reference.
Krejecie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and Psychological Measurement, 30, 607-610.