การสร้างแบบสอบถาม: กุญแจความสำเร็จของงานวิจัยเชิงสำรวจ

Authors

  • จักรกฤษณ์ โพดาพล

Keywords:

การสร้างแบบสอบถาม, การออกแบบวิจัย, วิจัยเชิงปริมาณ

Abstract

                    ในการทำวิจัยเชิงสำรวจ (survey research) สิ่งที่ทำให้การทำวิจัยสำเร็จลงได้คือการทำเครื่องมือวิจัยให้เก็บข้อมูลได้ถูกต้องกับวัตถุประสงค์การทำวิจัย คือแบบสอบถาม (questionnaire) ความยากของการทำแบบสอบถาม คือการสร้างข้อคำถามจากนิยามเชิงปฏิบัติการของตัวแปร ที่นักวิจัยมือใหม่ หรือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาได้ทำวิทยานิพนธ์เพื่อจบการศึกษา ยังไม่มีความเข้าใจในการสร้างแบบสอบถาม รวมทั้งกระบวนการสร้างเครื่องมือและการตรวจคุณภาพของเครื่องมือ บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยให้นักวิจัยมีความเข้าใจและสามารถสร้างเครื่องมือวิจัยได้

References

จักรกฤษณ์ โพดาพล. (2557). เอกสารประกอบการสอนรายวิชา GS 5007 ระเบียบวิธีวิจัย (Research Methodology). เลย: สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยา เขตศรีล้านช้าง.

จักรกฤษณ์ โพดาพล. (2564, 4 ตุลาคม). ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์: ผู้นำในยุค Disruptive. มหาวิทยาลัยมหามกุฏราช วิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง. [ออนไลน์] https://slc.mbu.ac.th/article/30270 ภาวะผู้นำเชิง สร้างสรรค

จักรกฤษณ์ โพดาพล และสุพรรณี บุญหนัก. (2563). สถิติเพื่อการวิจัย และการใช้โปรแกรม SPSS ในการวิจัย. เลย: สำรวยก๊อปปี้ บ้านใหม่.

ศิริชัย กาญจนวาสี. (2538). ทฤษฎีการประเมิน. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Downloads

เผยแพร่เมื่อ

28-12-2021

How to Cite

โพดาพล จ. (2021). การสร้างแบบสอบถาม: กุญแจความสำเร็จของงานวิจัยเชิงสำรวจ. วารสารวิจัยศรีล้านช้าง, 1(3), 45-53. https://ojs.mbuslc.ac.th/index.php/srj/article/view/52