การศึกษา 4.0: กระบวนทัศน์การศึกษามุ่งสู่อนาคตประเทศ
Keywords:
การศึกษา 4.0, กระบวนทัศน์การศึกษา, การศึกษาสำหรับอนาคต, ปรัชญาการศึกษาAbstract
อนาคตประเทศไทยได้ถูกกำหนดด้วยนโยบายของรัฐบาล เพื่อให้ประเทศไทยมีการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ โดยอาศัยอุตสาหกรรม 4.0 การศึกษาในฐานะเครื่องมือเพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศให้เป็นไปตามที่ได้ตั้งเป้าหมายเอาไว้ จำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์เพื่อให้สอดรับกับการเปลี่ยนแปลง การศึกษา 4.0 จึงเป็นปรัชญาการศึกษาใหม่ที่ต่อยอดจากการศึกษาในศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งเน้นที่ให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ ความสามารถในการก้าวสู่อาชีพต่าง ๆ ที่สอดรับในอนาคต บทความนี้เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการศึกษา 4.0 ในฐานะเครื่องมือในการพัฒนาผู้เรียน ให้เป็นผู้มีทักษะต่าง ๆ เพื่อเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพของประเทศ
References
จักรกฤษณ์ โพดาพล และคณะ. (2563). แนวทางการจัดการศึกษาตามแนวคิดการศึกษา 4.0 ของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 18 และระดับนานาชาติ ครั้งที่ 2 มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง วันที่ 1 พฤศจิกายน 2563.
ธรัช อารีราษฎร์ และวรปภา อารีราษฎร์. (2562). รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์เชิงนวัตกรรม สาหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตามกรอบแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579 สู่การจัดการศึกษา 4.0. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์. (2559). การศึกษาในยุค Thailand 4.0. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 16 ธันวาคม 2563. แหล่งสืบค้น https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/540859.
แพรวไพลิน วงษ์สินธุวิเศษ และณัชพล จรูญพิพัฒน์กุล. (2561). Middle Income Trap: กับดักเศรษฐกิจที่รอการก้าวข้าม. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 15 ธันวาคม 2563. แหล่งสืบค้น https://www.bot.or.th/ Thai/ResearchAndPublications/DocLib_/Article_7Nov2017.pdf.
ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2562). การศึกษา 4.0 เป็นยิ่งกว่าการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
__________. (2559). การศึกษา 4.0 เป็นยิ่งกว่าการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยครุศาสตร์มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
ภัทรนันท์ ไวทยะสิน. (2562). "เปลี่ยน" ผู้เรียนเป็นนวัตกร นวัตกรรมใหม่ของการเรียนการสอนในยุคการศึกษา 4.0. วารสารเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา ECT Journal ฉบับที่ 17 ประจำเดือนกรกฎาคม ถึง ธันวาคม พุทธศักราช 2562. (หน้า 37 – 51).
Kotler, P., Kartajaya, H., & Setiawan, I. (2017). Marketing 4.0. Bangkok: Nation Books.
Lazarsfeld, P.F., Berelson, B., & Gaudet, H. (1949). The people's choice: How the voter makes up his mind in a presidential campaign [Electronics version]. American Journal of Sociology, 261(1), 194-194.