ความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง
Keywords:
การจัดการศึกษา, การศึกษาออนไลน์Abstract
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง และ (2) เปรียบเทียบความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง จำแนกตาม สาขาวิชา และระดับชั้นปีการศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง จำนวน 196 รูป/คน เครื่องมือวิจัย คือ แบบสอบถาม มีความเชื่อมั่น 0.98 สถิติที่ใช้ คือ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ One – Way ANOVA
ผลการวิจัยพบว่า (1) ความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง อยู่ในระดับมาก (2) ผลการเปรียบเทียบความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง จำแนกตาม สาขาวิชา และระดับชั้นปีการศึกษาไม่แตกต่างกัน
References
จักรกฤษณ์ โพดาพล และสุพรรณี บุญหนัก. (2563). สถิติเพื่อการวิจัย และการใช้โปรแกรม SPSS ในการวิจัย. เลย: สำรวยก๊อปปี้ บ้านใหม่.
พวงผกา วรรธนะปกรณ์ และโสภณ ผลประพฤติ. (2553). การศึกษารูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่เน้นเรียนเป็นสำคัญในวิชาสัมมนาวิชาชีพด้านมัลติมีเดีย ของนักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน. รายงานการวิจัยคณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน.
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. (2564, 13 พฤษภาคม). ประกาศ เรื่อง มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (ฉบับที่ 19). [ออนไลน์] https://www.mbu.ac.th/announce-mbu/post-5161/
สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. (2563, 1 พฤษภาคม). การศึกษาพื้นฐานในยุค โควิด-19: จะเปิด-ปิดโรงเรียนอย่างไร?. [ออนไลน์] https://tdri.or.th/2020/05/basic-education-in-covid-19-crisis-reopening-school-after-lockdown/.
Downloads
เผยแพร่เมื่อ
How to Cite
Issue
Section
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.